เครื่องสแกนเนอร์ (scanners)
จัดทำโดย นาย จักรพันธ์ มีกสุลวงศ์ รหัสนักศึกษา 6031280053
เรื่อง เครื่องสแกนเนอร์ (scanners)
สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์ ซึ่ง จับ ภาพ และ เปลี่ยน แปลง ภาพ จาก รูป แบบ ของ แอ นา ลอก เป็นดิจิตอลซึ่ง คอมพิวเตอ ร ์
สามารถ แสดง , เรียบ เรียง , เก็บ รักษา และ ผลิต ออก มา ได้ ภาพ นั้น อาจ จะ เป็น รูป ถ่าย ,
ข้อ ความ , ภาพ วาด หรือ แม้ แต่ วัตถุ สาม มิติ สามารถ ใช้สแกนเนอร์ทำ งาน ต่างๆได้ ดัง นี้
- ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถ่ายในเอกสาร
- บันทึกข้อมูลลงในเวิร์ดโปรเซสเซอร์
- แฟ็กเอกสาร ภายใต้ดาต้าเบส และ เวิร์ดโปรเซสเซอร์
- เพิ่มเติมภาพและจินตนาการต่าง ๆ ลงไปในผลิตภัณฑ์สื่อโฆษณาต่าง ๆ
โดย พื้น ฐาน การ ทำ งาน ของสแกนเนอร์ , ชนิด ของสแกนเนอร์ และ ความ สามารถ ใน การ ทำ งาน ของสแกนเนอร์แบ่ง ออก ได้ ดัง ต่อ ไป นี้
สแกนเนอร์สามารถ
Flatbed scanners, ซึ่ง
การ
จาก
- สแกนเนอร์
- สาย SCSI สำหรับต่อจากสแกนเนอร์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สำหรับการสแกนภาพ ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของสแกนเนอร์ให้ สแกนภาพตามที่กำหนด
- สแกนเอกสารเก็บไว้เป็นไฟล์ที่นำกลับมาแก้ไขได้อาจต้องมีซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนด้าน OCR
- จอภาพที่เหมาะสมสำหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร์
- เครื่องมือสำหรับแสดงพิมพ์ภาพที่สแกน เช่น เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์หรือสไลด์โปรเจคเตอร์
Line Art ได้แก่ภาพที่มีส่วนประกอบเป็นภาพขาวดำ ตัวอย่างของภาพพวกนี้ ได้แก่ ภาพที่ได้จากการสเก็ต
Halftone ภาพพวกนี้จะให้สีที่เป็นโทนสีเทามากกว่า แต่โดยทั่วไปยังถูกจัดว่าเป็นภาพประเภท Single-bit เนื่องจากเป็นภาพหยาบๆ
2. ภาพ Gray Scale ภาพพวกนี้จะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดำ โดยจะประกอบด้วยเฉดสีเทาเป็นลำดับขั้น ทำให้เห็นรายละเอียดด้านแสง-เงา ความชัดลึกมากขึ้นกว่าเดิมภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของภาพอาจประกอบด้วยจำนวนบิตมากกว่า
ต้องการพื้นที่เก็บข้อมูลมากขึ้น
3. ภาพสี หนึ่งพิกเซลของภาพสีนั้นประกอบด้วยจำนวนบิตมหาศาล และใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมาก ควาามสามารถในการสแกนภาพออกมาได้ละเอียดขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับว่าใช้สแกนเนอร์ขนาดความละเอียดเท่าไร
4. ตัวหนังสือ ตัวหนังสือในที่นี้ ได้แก่ เอกสารต่างๆ เช่น ต้องการเก็บเอกสารโดยไม่ต้อง พิมพ์ลงในแฟ้มเอกสารของเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ก็สามารถใช้สแกนเนอร์สแกนเอกสาร ดังกล่าว และเก็บไว้เป็นแฟ้มเอกสารได้ นอก จากนี้ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันสามารถใช้ โปรแกรมที่สนับสนุน OCR (Optical Characters Reconize) มาแปลงแฟ้มภาพเป็น เอกสารดังกล่าวออกมาเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้
สแกนเนอร์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-fed scanner)
สแกนเนอร์
แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อนหน้ากระดาษแผ่นนั้นให้ผ่านหัวสแกนซึ่ง
อยู่กับที่ข้อจำกัดของสแกนเนอร์ แบบเลื่อนกระดาษ คือ
สามารถอ่านภาพที่เป็นแผ่นกระดาษได้เท่านั้น
ไม่สามารถอ่านภาพจากสมุดหรือหนังสือได้
2. แบบแท่นนอน (flatbed scanner)
สแกนเนอร์ แบบนี้จะมีกลไกคล้าย ๆ กับเครื่องถ่ายเอกสาร เราแค่วางหนังสือหรือภาพไว้บนแผ่นกระจกใส และเมื่อทำการสแกน หัวสแกนก็จะเคลื่อนที่จากปลายด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ข้อจำกัดของสแกนเนอร์ แบบแท่นนอน คือ แม้ว่าอ่านภาพจากหนังสือได้ แต่กลไกภายในต้องใช้ การสะท้อนแสงผ่านกระจกหลายแผ่น ทำให้ภาพมีคุณภาพไม่ดีเมื่อเทียบกับแบบแรก
3. แบบมือถือ (Hand-held scanner)
3. แบบมือถือ (Hand-held scanner)
สแกนเนอร์ แบบนี้ผู้ใช้ต้องเลื่อนหัวสแกนเนอร์ไปบนหนังสือหรือรูปภาพเอง สแกนเนอร์ แบบมือถือได้รวมเอาข้อดีของสแกนเนอร์ ทั้งสองแบบเข้าไว้ด้วยกันและมีราคาถูก เพราะกลไกที่ใช้ไม่สลับซับซ้อน แต่ก็มีข้อจำกัดตรงที่ว่าภาพที่ได้จะมีคุณภาพแค่ไหนขึ้นอยู่กับความสม่ำเสมอ ในการเลื่อนหัวสแกนเนอร์ของผู้ใช้งาน
บาร์โค้ด
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
ก่อนจะมีการนำรหัสบาร์โค้ดมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ร้านค้าปลีกและโรงงานต่าง ๆ ต้องใช้พนักงานป้อนข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์ลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับของและจำหน่ายออก ตลอดจนใช้พนักงานในการเดินนับสินค้าในโกดัง จากนั้นนำมาหักลบกับยอดขายเพื่อทำบัญชีในการคำนวณสินค้าคงเหลือ มีขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน สิ้นเปลืองทั้งเวลาและแรงงานคน ทั้งมีโอกาสเกิดความผิดพลาดหรือการทุจริตได้ง่าย ในปัจจุบันการตรวจรหัสสินค้าด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ดให้ประโยชน์มาก เพราะความสะดวกในการเช็คยอดขายและส่งข้อมูลตัดสต็อกสินค้าโดยอัตโนมัติ ทำให้เป็นที่นิยมในร้านสะดวกซื้อทั่วไป ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล การขนส่งและโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบ่งออกได้หลายแบบ เช่น แบบตั้งโต๊ะยึดติดกับที่แบบมือจับมีสายเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และแบบไร้สาย ทุกแบบมีหลักการทำงานเหมือนกัน คือ การแปลงข้อมูลจากรหัสแท่ง 1 มิติ ที่มีลักษณะเป็นแท่งสีขาวและดำมีความกว้างของแถบที่ต่างกัน ประโยชน์หลัก ๆ ของรหัสแท่งบาร์โค้ดแบบนี้ช่วยให้ป้อนข้อมูลสะดวกรวดเร็ว ไม่ได้เน้นเก็บข้อมูลอย่างละเอียด เพียงแต่นำไปอ้างอิงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องในคอมพิวเตอร์ช่วยให้จัดการข้อมูลง่ายและแม่นยำยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันยังมีรหัสแท่งแบบ 2 มิติ ที่บรรจุข้อมูลทั้งแนวตั้งแนวนอนและบรรจุข้อมูลจำนวนมากประมาณ 4,000 ตัวอักษร รหัสแท่งแต่ละแบบมีลักษณะแตกต่างกันไป พบเห็นทั่วไปบนซองบรรจุอาหาร กล่องสินค้า ตลอดจนภาคบริการและอุตสาหกรรมหลายประเภท ต้องเลือกใช้งานควบคู่กับ เครื่องอ่านบาร์โค้ด อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด อธิบายขั้นตอนได้ง่าย ๆ ดังนี้
1. แหล่งกำเนิดแสงของเครื่องอ่านจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด กวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์โค้ด การอ่านรหัสแถบบาร์โค้ด โดยทั่วไปนิยมใช้แสงอินฟราเรดอ่านแถบขาวสลับดำ ลำแสงที่ปล่อยออกมาจากหัวอ่านจะสะท้อนกลับจากพื้นสว่างได้มากกว่าพื้นมืด แสงสะท้อนกลับมาจากแท่งบาร์โค้ดมายังตัวรับแสง
2. ภายในเครื่องอ่านจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนแสงที่สะท้อนกลับมาให้กลายเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งนำมาเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดเพื่อถอดเป็นข้อมูล เช่น ตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ ซึ่งระบุชื่อสินค้าและอื่น ๆ จากนั้นจะบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยไม่ต้องกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลอย่างถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
3. ระบบการอ่านบาร์โค้ดแสดงผลทั้งการอ่านข้อมูลตามปกติ และการตรวจสอบความถูกต้องของแท่งบาร์โค้ด สำหรับขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้อง หากพบข้อผิดพลาดโปรแกรมจะทำการแก้ไขและอ่านบาร์โค้ดใหม่อีกครั้ง มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบและประมวลได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสแท่งมีส่วนสำคัญเพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการอ่านข้อมูลที่อาศัยหลักการสะท้อนแสงย่อมมีข้อจำกัดเหมือนกัน เครื่องอ่านบาร์โค้ดทำให้ระบบเก็บบันทึกและบริหารจัดการข้อมูลแบบอัตโนมัติ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงาน ผู้ใช้ควรระวังไม่ใช้งานในพื้นที่เปียกชื้น เพราะความชื้นมีผลให้การอ่านข้อมูลผิดพลาด หากวัตถุที่ติดฉลากบาร์โค้ดเคลื่อนที่รวดเร็วจะทำให้อ่านข้อมูลได้ยากเช่นกัน หรือถ้ามีวัตถุสิ่งอื่นปิดบังแถบบาร์โค้ดจะทำให้อ่านข้อมูลไม่ได้ ระบบบาร์โค้ดเป็นมาตรฐานสากล มีความน่าเชื่อถือ หากใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจะอำนวยความสะดวกและเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้งานมากที่สุด
บาร์โค้ด หรือ รหัสแท่ง (อังกฤษ : Barcode) เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบสินค้าขณะขาย , การตรวจสอบยอดการขาย และสินค้าคงคลัง เราสามารถที่จะอ่านบาร์โค้ดได้ โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ ( Barcode Scanner ) หรือเครื่องอ่านบาร์โค้ด ซึ่งวิธีนี้จะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ( Computer ) โดยเปลี่ยนเป็นวิธีการยิงเลเซอร์ไปยังแท่งบาร์โค้ด โดยเครื่องสแกนจะทำหน้าที่เป็นฮาร์ดแวร์ ( HardWare ) ส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการประยุกต์การใช้งานบาร์โค้ดเข้ากับการใช้งานของ Mobile Computer ซึ่งสามารถพกพาได้สะดวก เพื่อทำการจัดเก็บ แสดงผล ตรวจสอบ และประมวลในด้านอื่นๆ หรือบางครั้งสามารถอ่านด้วยสายตา เช่น ตัวเลขที่พ่วงกับแท่งบาร์โค้ดบางครั้งจะอยู่ด้านบน หรือ ด้านล่าง (แต่สายตาไม่สามารถอ่านแท่งบาร์โค้ดได้)
บาร์ โค้ด (Barcode) เป็นรหัสแท่งประกอบด้วยเส้นที่มีความเข้ม (มักจะเป็นสีดำ) และเส้นสว่าง (มักเป็นสีขาว) วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็นรหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่าย ขึ้น โดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ซึ่งจะทำงานได้รวดเร็ว และช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลได้มาก บาร์โค้ดเริ่มกำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1950 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจทางด้านพาณิชย์ขึ้น สำหรับค้นคว้ารหัสมาตรฐานและสัญลักษณ์ที่สามารถช่วยกิจการด้านอุตสาหกรรม และสามารถจัดพิมพ์ระบบบาร์โค้ดระบบ UPC-Uniform ขึ้นได้ในปี 1973 ต่อมาในปี 1975 กลุ่มประเทศยุโรปจัดตั้งคณะกรรมการด้านวิชาการเพื่อสร้างระบบบาร์โค้ดเรียก ว่า EAN-European Article Numbering สมาคม EAN เติบโตครอบคลุมยุโรปและประเทศอื่นๆ (ยกเว้นอเมริกาเหนือ) และระบบบาร์โค้ด EAN เริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี 1987
แต่เดิมมีการใช้บาร์โค้ดในร้านขายของชำและตามปกหนังสือ มาพบในร้านอุปกรณ์ประกอบรถยนต์และร้านอุปโภคบริโภคทั่วไป ในแถบยุโรปรถบรรทุก ทุกคัน ที่จะต้องวิ่งระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี จะต้องใช้บาร์โค้ดที่หน้าต่างทุกคัน เพื่อใช้ในการแสดงใบขับขี่ ใบอนุญาต และน้ำหนักรถบรรทุก แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากร สามารถตรวจได้ง่ายและรวดเร็ว ในขณะที่รถลดความเร็ว เครื่องตรวจจะอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด และแสดงข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทันทีแท่ง
BARCODE แท่งรหัส บาร์โค้ด ที่ใช้กันใหญ่ ทั้ง สินค้าอุปโภค สินค้าบริโภค อุตสาหกรรมขนาดเล็ก อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หน่วยงานรัฐบาล หน่วยงานเอกชน โรงพยาบาล ฯลฯ เป็นต้น ดังต่อไปนี้
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
ก่อนจะมีการนำรหัสบาร์โค้ดมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ร้านค้าปลีกและโรงงานต่าง ๆ ต้องใช้พนักงานป้อนข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์ลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับของและจำหน่ายออก ตลอดจนใช้พนักงานในการเดินนับสินค้าในโกดัง จากนั้นนำมาหักลบกับยอดขายเพื่อทำบัญชีในการคำนวณสินค้าคงเหลือ มีขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน สิ้นเปลืองทั้งเวลาและแรงงานคน ทั้งมีโอกาสเกิดความผิดพลาดหรือการทุจริตได้ง่าย ในปัจจุบันการตรวจรหัสสินค้าด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ดให้ประโยชน์มาก เพราะความสะดวกในการเช็คยอดขายและส่งข้อมูลตัดสต็อกสินค้าโดยอัตโนมัติ ทำให้เป็นที่นิยมในร้านสะดวกซื้อทั่วไป ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล การขนส่งและโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบ่งออกได้หลายแบบ เช่น แบบตั้งโต๊ะยึดติดกับที่แบบมือจับมีสายเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และแบบไร้สาย ทุกแบบมีหลักการทำงานเหมือนกัน คือ การแปลงข้อมูลจากรหัสแท่ง 1 มิติ ที่มีลักษณะเป็นแท่งสีขาวและดำมีความกว้างของแถบที่ต่างกัน ประโยชน์หลัก ๆ ของรหัสแท่งบาร์โค้ดแบบนี้ช่วยให้ป้อนข้อมูลสะดวกรวดเร็ว ไม่ได้เน้นเก็บข้อมูลอย่างละเอียด เพียงแต่นำไปอ้างอิงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องในคอมพิวเตอร์ช่วยให้จัดการข้อมูลง่ายและแม่นยำยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันยังมีรหัสแท่งแบบ 2 มิติ ที่บรรจุข้อมูลทั้งแนวตั้งแนวนอนและบรรจุข้อมูลจำนวนมากประมาณ 4,000 ตัวอักษร รหัสแท่งแต่ละแบบมีลักษณะแตกต่างกันไป พบเห็นทั่วไปบนซองบรรจุอาหาร กล่องสินค้า ตลอดจนภาคบริการและอุตสาหกรรมหลายประเภท ต้องเลือกใช้งานควบคู่กับ เครื่องอ่านบาร์โค้ด อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด อธิบายขั้นตอนได้ง่าย ๆ ดังนี้
1. แหล่งกำเนิดแสงของเครื่องอ่านจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด กวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์โค้ด การอ่านรหัสแถบบาร์โค้ด โดยทั่วไปนิยมใช้แสงอินฟราเรดอ่านแถบขาวสลับดำ ลำแสงที่ปล่อยออกมาจากหัวอ่านจะสะท้อนกลับจากพื้นสว่างได้มากกว่าพื้นมืด แสงสะท้อนกลับมาจากแท่งบาร์โค้ดมายังตัวรับแสง
2. ภายในเครื่องอ่านจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนแสงที่สะท้อนกลับมาให้กลายเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งนำมาเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดเพื่อถอดเป็นข้อมูล เช่น ตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ ซึ่งระบุชื่อสินค้าและอื่น ๆ จากนั้นจะบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยไม่ต้องกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลอย่างถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
3. ระบบการอ่านบาร์โค้ดแสดงผลทั้งการอ่านข้อมูลตามปกติ และการตรวจสอบความถูกต้องของแท่งบาร์โค้ด สำหรับขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้อง หากพบข้อผิดพลาดโปรแกรมจะทำการแก้ไขและอ่านบาร์โค้ดใหม่อีกครั้ง มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบและประมวลได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสแท่งมีส่วนสำคัญเพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการอ่านข้อมูลที่อาศัยหลักการสะท้อนแสงย่อมมีข้อจำกัดเหมือนกัน เครื่องอ่านบาร์โค้ดทำให้ระบบเก็บบันทึกและบริหารจัดการข้อมูลแบบอัตโนมัติ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงาน ผู้ใช้ควรระวังไม่ใช้งานในพื้นที่เปียกชื้น เพราะความชื้นมีผลให้การอ่านข้อมูลผิดพลาด หากวัตถุที่ติดฉลากบาร์โค้ดเคลื่อนที่รวดเร็วจะทำให้อ่านข้อมูลได้ยากเช่นกัน หรือถ้ามีวัตถุสิ่งอื่นปิดบังแถบบาร์โค้ดจะทำให้อ่านข้อมูลไม่ได้ ระบบบาร์โค้ดเป็นมาตรฐานสากล มีความน่าเชื่อถือ หากใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจะอำนวยความสะดวกและเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้งานมากที่สุด
บาร์โค้ด หรือ รหัสแท่ง (อังกฤษ : Barcode) เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบสินค้าขณะขาย , การตรวจสอบยอดการขาย และสินค้าคงคลัง เราสามารถที่จะอ่านบาร์โค้ดได้ โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ ( Barcode Scanner ) หรือเครื่องอ่านบาร์โค้ด ซึ่งวิธีนี้จะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ( Computer ) โดยเปลี่ยนเป็นวิธีการยิงเลเซอร์ไปยังแท่งบาร์โค้ด โดยเครื่องสแกนจะทำหน้าที่เป็นฮาร์ดแวร์ ( HardWare ) ส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการประยุกต์การใช้งานบาร์โค้ดเข้ากับการใช้งานของ Mobile Computer ซึ่งสามารถพกพาได้สะดวก เพื่อทำการจัดเก็บ แสดงผล ตรวจสอบ และประมวลในด้านอื่นๆ หรือบางครั้งสามารถอ่านด้วยสายตา เช่น ตัวเลขที่พ่วงกับแท่งบาร์โค้ดบางครั้งจะอยู่ด้านบน หรือ ด้านล่าง (แต่สายตาไม่สามารถอ่านแท่งบาร์โค้ดได้)
บาร์ โค้ด (Barcode) เป็นรหัสแท่งประกอบด้วยเส้นที่มีความเข้ม (มักจะเป็นสีดำ) และเส้นสว่าง (มักเป็นสีขาว) วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็นรหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่าย ขึ้น โดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ซึ่งจะทำงานได้รวดเร็ว และช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลได้มาก บาร์โค้ดเริ่มกำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1950 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจทางด้านพาณิชย์ขึ้น สำหรับค้นคว้ารหัสมาตรฐานและสัญลักษณ์ที่สามารถช่วยกิจการด้านอุตสาหกรรม และสามารถจัดพิมพ์ระบบบาร์โค้ดระบบ UPC-Uniform ขึ้นได้ในปี 1973 ต่อมาในปี 1975 กลุ่มประเทศยุโรปจัดตั้งคณะกรรมการด้านวิชาการเพื่อสร้างระบบบาร์โค้ดเรียก ว่า EAN-European Article Numbering สมาคม EAN เติบโตครอบคลุมยุโรปและประเทศอื่นๆ (ยกเว้นอเมริกาเหนือ) และระบบบาร์โค้ด EAN เริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี 1987
แต่เดิมมีการใช้บาร์โค้ดในร้านขายของชำและตามปกหนังสือ มาพบในร้านอุปกรณ์ประกอบรถยนต์และร้านอุปโภคบริโภคทั่วไป ในแถบยุโรปรถบรรทุก ทุกคัน ที่จะต้องวิ่งระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี จะต้องใช้บาร์โค้ดที่หน้าต่างทุกคัน เพื่อใช้ในการแสดงใบขับขี่ ใบอนุญาต และน้ำหนักรถบรรทุก แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากร สามารถตรวจได้ง่ายและรวดเร็ว ในขณะที่รถลดความเร็ว เครื่องตรวจจะอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด และแสดงข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทันทีแท่ง
BARCODE แท่งรหัส บาร์โค้ด ที่ใช้กันใหญ่ ทั้ง สินค้าอุปโภค สินค้าบริโภค อุตสาหกรรมขนาดเล็ก อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หน่วยงานรัฐบาล หน่วยงานเอกชน โรงพยาบาล ฯลฯ เป็นต้น ดังต่อไปนี้
โค้ด 128 (Code 128) เนื่องจากโค้ด 39 เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้ค่อนข้างจำกัด ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาโค้ด 128 ขึ้นมาใช้งาน และเหมาะสมกับฉลากสินค้าที่มีพื้นที่จำกัด เพราะรหัสแท่งแบบโค้ด 128 นี้จะกะทัดรัดและดูแน่นกว่าโค้ด 39 โดยทั่วไปแล้วโค้ด 128 นิยมใช้ในอุตสาหกรรม การจัดส่งสินค้าซึ่งมีปัญหาด้านการพิมพ์ฉลาก
บ้านเราเช่น True Move และ AIS เริ่มนำเข้ามาให้บริการแล้ว จะทำให้เราสามารถเข้าอินเตอร์เน็ตบนมือถือได้อย่างรวดเร็วและ นอกจากนี้ QR Code ยังเริ่มนิยมอยู่บนนามบัตรแล้วด้วย โดยจะใช้ QR Code บันทึก URL ของข้อมูลส่วนต่างๆ บนเว็บไซต์ เช่น อีเมล์, Hi5, MSN หรือจะเก็บข้อมูลส่วนในรูปแบบตัวอักษร เช่น ชือ ตำแหน่ง ที่อยู่ เบอร์โทร ฯลฯ ซึ่งอาจทำให้ในอนาคตเราอาจไม่จำเป็นต้องแลกนามบัตรกันอีกต่อไป เพียงแค่เอามือถือมาสแกนที่นามบัตร ข้อมูลบนนามบัตรทุกๆ อย่างก็จะถูกจัดเก็บเข้ามือถือทันที
เครื่องคิดเงินร้านค้า
เครื่องบันทึกเงินสด Casio รุ่น TE-2200 [CASIO TE-2200]
รายละเอียดสินค้า
- บันทึกชื่อรายการสินค้า BARCODE หรือ PLU สูงสุดได้ 5000 รายการ
- กำหนดแผนกได้ 99 แผนก (DEPARTMENT) เหมาะสำหรับร้านมินิมาร์ท, ร้านค้าปลีกทั่วไป
- รองรับระบบภาษาไทยสมบูรณ์แบบ
- จอแสดงผลแบบ BACKLIGHT LCD กว้างถึง 5.2 นิ้ว 3 บรรทัด
- สามารถบันทึกยอดขายจากพนักงานเก็บเงินได้ 15 คน
- มีจอแสดงผลสำหรับลูกค้า ( CUSTOMER DISPLAY )
- สามารถต่อกับ COMPUTER เพื่อโปรแกรมข้อมูลแล้วส่งไปที่เครื่องเก็บเงิน
- สามารถต่อกับ SCANNER BARCODE, SLIP PRINTER, KITCHEN PRINTER
- สามารถใช้งานร่วมกับ CF CARD (Compact Flash) เพื่อเก็บข้อมูลและยอดขายต่างๆได้
- มีปุ่ม HELP KEY เพื่อแนะนำการโปรแกรมที่ใช้งานบ่อยๆ
- สามารถตัด STOCK สินค้าที่เครื่องได้ทันทีณ จุดขาย และแจ้งเตือนเมื่อสินค้าใกล้หมด
- สามารถรายงานสินค้าที่ขายดีได้ 50 อันดับ เพื่อบริหารข้อมูลในการสั่งสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- สรุปยอดขายทั้งรายชั่วโมง รายวัน รายเดือนได้
- สามารถพิมพ์โลโก้และชื่อร้านค้าและลายน้ำลงบนใบเสร็จได้ 12 บรรทัด
- สามารถบันทึกคำว่า TAX INV (ABB) หรือคำว่า TAX INVOICE (ABB) ไว้ในใบกำกับภาษีอย่างย่อได้
- ระบบหัวพิมพ์เป็นแบบความร้อน THERMAL PRINTER
- มี 2 หัวพิมพ์ คือ ม้วนสำเนา และใบเสร็จลูกค้า
- ความเร็วในการพิมพ์ 14 บรรทัดต่อวินาที ใช้กระดาษความร้อนกว้าง 58 มิลลิเมตร
- ลิ้นชักมี 4 ช่องแบงค์ 8 ช่องเหรียญ
- โปรโมรชั่น "แถมเครื่องสแกนบาร์โค๊ต"
รองรับระบบ Scanner Barcode
- เครื่องบันทึกเงินสดรุ่นนี้สามารถใช้ได้กับเครื่องสแกนบาร์โคด ( Scanner Barcode )
- สะดวก รวดเร็ว และง่ายต่อการขายสินค้า
- สามารถบันทึกรายการสินค้าผ่านเครื่องสแกนบาร์โค็ดได้เลย
- มิได้เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-623-1515 หรือ info@officedesign.co.th
สามารถใส่โลโก้ร้านค้าได้
- เครื่องบันทึกเงินสดรุ่นนี้สามารถใส่โลโก้ร้านค้า และข้อความได้นะคะ ซึ่งจะเป็นตัวช่วยให้ลูกค้าจดจำร้านค้า หรือบริษัทของเราได้ง่ายขึ้น
- ใช้งานผ่านสาย Data link และ Software ( มิได้เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน ) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-623-1515 หรือ info@officedesign.co.th
เหมาะกับมินิมาร์ทและร้านค้าปลีก |
|
|
ตัดสต๊อกทันที ณ จุดขาย
- สามารถตัด STOCK สินค้าที่เครื่องได้ทันที ณ จุดขาย ซึ่งจะช่วยให้ร้านค้าหรือบริษัทไม่ต้องเสียเวลา และปวดหัวกับยอดสต๊อคและยอดขายสินค้าที่ไม่ตรงกัน
- ใช้งานผ่าน สาย Data link และ Software ( มิได้เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน ) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-623-1515 หรือ info@officedesign.co.th
สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์อื่นๆ ได้ 2 พอร์ท |
|
|
มี 2 หัวพิมพ์กระดาษ |
|
|
ออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ |
|
|
มีระบบสำรองข้อมูล |
|
|
มีลิ้นชักเก็บเงินในตัว |
|
|
ใช้กระดาษความร้อน |
|
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น